พบกล้วยไม้หายาก 1 ชนิด คือ Calanthe cardioglossa Schltr. เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2559 นายสิรินทร์ แก้วละเอียด ประธานคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงานและติดตามผลการดำเนินงาน องค์การสวนพฤกษศาสตร์ พร้อมด้วย นายอภิชาต รัตนราศรี นายธนิต ธงทอง และคณะผู้บริหาร อ.ส.พ. 2.รถสองแถวสีเหลือง(สะเมิง) จากตัวเมืองเชียงใหม่ไปยังสวนพฤกษศาสตร์ โดยขึ้นรถที่สถานนีขนส่งช้างเผือก เวลา 6.00 – 18.00 น.
2501 ได้มีการเปิดการสอนวิชากล้วยไม้ขึ้นในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นครั้งแรก เพื่อผลิตนักวิชาการและพัฒนางานวิจัยกล้วยไม้ของประเทศ และเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้การปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ไม่ได้จำกัดอยู่ภายในวง แคบอีกต่อไป จากการส่งเสริมดังกล่าว ทำให้มีการนำเข้ากล้วยไม้ลูกผสมจากต่างประเทศ เช่น จากฮาวายและสิงคโปร์จำนวนมากยิ่งขึ้น ทำให้ผู้ที่มีความรู้หันมารวบรวมพันธุ์ผสมและเพาะพันธุ์จากพ่อแม่พันธุ์ใน ประเทศ ทั้งที่เป็นพ่อแม่พันธุ์จากป่า และลูกผสมที่สั่งเข้ามาแล้วในอดีต ปีพ.ศ. 2506 วงการกล้วยไม้ของไทยได้เริ่มมีแผนในการขยายข่ายงานออกไปประสานกับวงการกล้วย ไม้สากล เพื่อยกระดับวงการกล้วยไม้ในประเทศให้ทัดเทียมกับต่างประเทศ ปีพ.ศ. 2509 เริ่มการทำสวนกล้วยไม้ตัดดอกอย่างจริงจัง เมื่อไทยเริ่มส่งออกกล้วยไม้ไปสู่ตลาดต่างประเทศในยุโรปตะวันตก เช่น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน เนเธอร์แลนด์ และอิตาลี ต่อมาจึงขยายตลาดไปสู่ประเทศญี่ปุ่น แคนาดา และบางรัฐของสหรัฐอเมริกา. การศึกษาความหลากหลายของกล้วยไม้ในอุทยานแห่งชาติภูกระดึงจังหวัดเลย ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ.
2557 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ในเส้นทางสำรวจ 5 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางหน่วยพิทักษ์ฯ หนองผักบุ้ง เส้นทางหน่วยพิทักษ์ฯ นาน้อย เส้นทางหน่วยพิทักษ์ฯ พองหนีบ เส้นทางหน่วยพิทักษ์ฯ อีเลิศ และเส้นทางศูนย์บริการนักท่องเที่ยวศรีฐาน ซึ่งเป็นเส้นทางหลัก พบกล้วยไม้ทั้งหมด 2 วงศ์ย่อย 36 สกุล seventy six ชนิด ได้แก่ Epidendroideae พบ 29 สกุล 63 ชนิด และ Orchidoideae พบ 7 สกุล 13 ชนิด แบ่งเป็นกล้วยไม้อิงอาศัย 33 ชนิด พบได้ในป่าทุกแบบ ที่ระดับความสูง 276–1,200 เมตรจากระดับน้ำทะเล กล้วยไม้ที่ขึ้นบนหิน 8 ชนิด พบมากในบริเวณป่าดิบเขาต่ำที่ระดับความสูงมากกว่า 1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล ยกเว้น Bulbophyllum rufinum Rchb.f. ที่พบในป่าเต็งรัง ระดับความสูง 553 เมตร จากระดับน้ำทะเล กล้วยไม้ดิน 32 ชนิด พบได้ในป่าทุกแบบ ที่ระดับความสูง 288–1,200 เมตร จากระดับทะเล และกล้วยไม้ที่มีลักษณะวิสัยมากกว่าหนึ่งแบบพบ 3 ชนิด ในป่าดิบเขาต่ำ ระดับความสูง 1,100–1,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล สกุลที่พบมากที่สุดคือ Dendrobium Sw. รองลงมาคือ Bulbophyllum Thouars กล้วยไม้ที่สำรวจพบทั้งหมด 76 ชนิด มีกล้วยไม้หนึ่งชนิดที่จัดอยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ (EN) คือ Didymoplexiella siamensis (Rolfe)Seidenf. ซึ่งเป็นพืชถิ่นเดียวที่พบในป่าดิบเขาทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และป่าดิบชื้นทางภาคกลางของประเทศไทยกล้วยไม้ที่อยู่ในสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (VU) 2 ชนิด คือ Bulbophyllum orientale Seidenf.